วันพุธที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 16



บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา   สุขสำราญ
วันที่  27  เดือนกันยายน  2556
ครั้งที่  16  กลุ่มเรียน  103 (วันศุกร์เช้า)
เวลาเข้าสอน  08.30 น.    เวลาเข้าเรียน  08.30 น.   เวลาเลิกเรียน  12.20 น.

1.   ในวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาดูว่าบล็อกของตัวเองทำครบหรือยัง  และถ้ายังไม่ครบก็ให้กลับไปทำเพิ่มให้เรียบร้อย
2.   อาจารย์ก็สั่งงานให้นักศึกษาสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้ เป็น My mapping


วันพุธที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 15

บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา   สุขสำราญ
วันที่  20  เดือนกันยายน  2556
ครั้งที่  15  กลุ่มเรียน  103 (วันศุกร์เช้า)
เวลาเข้าสอน  08.30 น.    เวลาเข้าเรียน  08.30 น.   เวลาเลิกเรียน  12.20 น.

อาจารย์ให้ดูวีดีโอเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางภาษาและให้ทำแผนจัดประสบการณ์โดยให้เลือกเรื่องที่จะสอนมา 1 เรื่อง ทำเป็น Mind Map โดยแตกเรื่องที่จะสอนออกไป ซึ่งกลุ่มดิฉันได้ทำเรื่อง "ผีเสื้อ"








 หลังจากนั้นอาจารย์ให้ออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน


ความรู้และการนำไปใช้
                 ได้รู้เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ว่าควรทำยังไงบ้าง ฝึกความกล้าแสดงออก สามารถนำไปใช้ในอนาคตได้ ฟังคำแนะนำเรื่องบุคลิกภาพจากอาจารย์และนำไปแก้ไขต่อไป

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 14

บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา   สุขสำราญ
วันที่  13  เดือนกันยายน  2556
ครั้งที่  14  กลุ่มเรียน  103 (วันศุกร์เช้า)
เวลาเข้าสอน  08.30 น.    เวลาเข้าเรียน  08.30 น.   เวลาเลิกเรียน  12.20 น.

   อาจารย์สอนเกี่ยวกับการจัดห้องเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย  การจัดมุมต่างๆของต่างประเทศ  เพื่อให้เด็กมีความสนใจและอยากที่จะเรียนรู้ในห้อเรียน  ดังนี้




   
              หลังจากนั้นอาจารย์ให้จับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน  ออกแบบห้องเรียนหรือมุมต่าง ๆ อยากให้ห้องเรียนในฝันของเราเป็นอย่างไรให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดออกแบบ  หลังจากนั้นให้ออกมานำเสนอห้องเรียนในฝันของกลุ่มเราว่าเป็นอย่างไรและมีมุมอะไรบ้าง  มุมต่าง ๆ ของเราช่วยส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาของเด็กอย่างไร  ดังรูป

         






ความรู้ที่ได้และการนำไปใช้

             ได้ความรู้ในเรื่องของมุมต่าง ๆ ในห้องเรียน  การจัดมุมให้เหมาะสมกับเด็กในแต่ละวัย  จากการนำเสนอผงงานได้รับข้อเสนอแนะจากอาจารย์และเพื่อน ๆ นำไปปรับปรุงแก้ไขและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในอนาคต

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 13

                            
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 5 เดือนสิงหาคม  2556
ครั้งที่ 13 กลุ่มเรียน  103 (วันศุกร์เช้า)
เวลาเข้าสอน 8.30  เวลาเข้าเรียน  8.30  เลิกเรียน  12.20


    อาจารย์สอนเกี่ยวกับหลักการและความสำคัญของการจัดสภาพแวดล้อม  มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย  ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนที่ส่งเสริมทักษะทางภาษาและสื่อสนับสนุนการ เรียนรู้และสาระทักษะทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย  ดังนี้

              หลักการและความสำคัญของการจัดสภาพแวดล้อม

         -   สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็ก  ส่งเสริมให้เด็กสำรวจ ปฏิบัติจริง  เป็นผู้กระทำด้วบตนเอง  เปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระได้สังเกตและตั้งสมมุติฐาน

         -   สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบุคคลรอบข้าง  เด็กควรได้สื่อสารสองทาง
         -   สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบ  ควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆโดยคำนึงถึงความหมายที่เด็กต้อง การสื่อมากกว่าความถูกต้องทางไวยกรณ์
         -   สิ่งแวดล้อมที่ประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้านวาจาและไม่ใช่วาจา  เด็กควรได้รับการมีประสบการณ์และปฏิสัมพันธ์หลายๆรูปแบบ         

    

           มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


         -   มุมหนังสือ

         -   มุมบทบทาสมมุติ
         -   มุมศิลปะ
         -   มุมดนตรี
         -   ฯลฯ


             ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนที่ส่งเสริมทักษะทางภาษา


          -   มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรมได้

          -   เด็กรู้สึกผ่อนคลายเมื่ออยู่ในมุม
          -   บริเวณใกล้ๆมีอุปกรณ์เครื่องเขียน เช่น ดินสอ สี กระดาษ กรรไกร กาว
          -   เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน  ออกแบบ


              สื่อสนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


           -   สื่อของจริง

           -   สิ่งของจำลอง
           -   ภาพถ่าย
           -   ภาพโครงร่าง
           -   สัญลักษณ์


              หลังจากนั้นอาจารย์ได้แจกกระดาษปล่าวพร้อมตัวแบบตัวอักษรภาษาไทยให้เด็กๆหัดคัดตามตัวแบบ  หัวกลม ตัวเหลี่ยม  
 
 


ความรู้ที่ได้และการนำไปใช้
ได้ฝึกเขียนพยัญชนะไทยและการจัดประสบการณ์พร้อมทั้งสื่อต่างๆ ที่ใช้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 12


                                                          บันทึกอนุทิน
วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา   สุขสำราญ
วันที่  30  เดือนสิงหาคม  2556
ครั้งที่  12  กลุ่มเรียน  103 (วันศุกร์เช้า)
                            เวลาเข้าสอน  08.30 น.    เวลาเข้าเรียน  08.30 น.   เวลาเลิกเรียน  12.20 น.

   วันนี้อาจารย์โบว์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 7-8 คน แล้วระดมความคิดในการผลิตสื่อหรือเกมการศึกษา กลุ่มละ 1 เกมว่าสื่อที่เราทำนั้นเป็นของนักทฤษฎีของใคร วิธีการเล่น ประโยชน์ของการนำไปใช้ให้เกี่ยวกับหลักทางภาษา แล้วออกมานำเสนอหน้าห้อง โดยให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอสื่อหรือเกมการศึกษานั้นด้วย กลุ่มของดิฉันได้ผลิตเกมจับคู่ภาพกับคำ

   วิธีการเล่น

      ให้เด็ก ๆ มองภาพสัตว์ แล้วจับคู่รูปสัตว์กับบัตรคำ หาก เด็หอ่านไม่ออกให้เด็กดูที่พยัญชนะบนภาพสัตว์แล้วเทียบกับบัตรคำ เด็กก็จะสามารถรู้ได้ว่าสัตว์ตัวไหนคู่กับนามบัตรอันไหน

                                                        รูปที่ 1                                                                                        รูปที่ 2      

 

         

                                                       รูปที่ 3                                                                                          รูปที่ 4

   ภาพผนวก

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 11

บันทึกอนุทิน

วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 23 เดือนสิงหาคม  2556
ครั้งที่ 11 กลุ่มเรียน  103 (วันศุกร์เช้า)
เวลาเข้าสอน 8.30  เวลาเข้าเรียน  8.30  เลิกเรียน  12.20

อาจารย์โบว์มีเกมส์มาให้เล่น โดยให้ทายจากภาพ เช่น

เทเลทับบี้
สุนัขบางแก้ว
จากนั้นอาจารย์สอน  เรื่องความหมาย  ความสำคัญ  และประเภทสื่อการสอน
   ความหมาย
วัสดุ อุปกรณ์ หรือ วิธีการต่างๆ
เพื่อกระตุ้น ส่งเสริม จูงใจ ให้เด็กเกิดความสนใจ
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ทางภาษา
เครื่องมือที่ครูกำหนดขึ้น เพื่อถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเนื้อหา ประสบการณ์ แนวคิด ทักษะ เจตคติ

      ความสำคัญของสื่อการเรียนรู้ทางภาษา
เด็กเรียนรู้ได้ดีจากประสาทสัมผัส
เข้าใจได้ง่าย
เป็นรู้ธรรม
จำได้ง่าย เร็ว และ นาน

      ประเภทของสื่อการสอน
สื่อสิ่งพิมพ์
สื่อวัสดุอุปกรณ์
สื่อโสตทัศนูปกรณ์
สื่อกิจกรรม
สื่อบริบท
      1. สื่อสิ่งพิมพ์
สื่อที่ใช้ระบบการพิมพ์
เด็กได้เรียนรู้ตัวอักษร การใช้คำ ประโยค
หนังสื่อนิทาน หนังสื่อพิมพ์ แผ่นพับ นิตยสาร แบบฝึกหัด พจนานุกรม

      2. สื่อวัสดุอุปกรณ์
สิ่งของต่างๆ
ของจริง หุ่นจำลอง แผนที่ แผ่นภูมิ ตารางสถิติ กราฟ สมุดภาพ หุ่นมือ

      3. สื่อโสตทุศนูปกรณ์
สื่อที่นำเสนอด้วยเครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ
คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นแผ่น

      4. สื่อกิจกรรม
วิธีการใช้ในการฝึกปฎิบัติ ทักษะ
ใช้กระบวนการคิด การปฎิบัติ การเผชิญสถานการณ์
เกม เพลง การสาธิต สถานการณ์จำลอง การแสดงละคร การจัดนิทรรศการ การแสดงผลงาน ทัศนศึกษา

      5. สื่อบริบท
สื่อที่ส่งเสริมการจัดประสบการณ์
สภาพแวดล้อม
ห้องเรียน บุคคล ชุมชน วัฒนธรรม
            
              หลังจากนั้นอาจารย์ให้ฟังวีดีโอทายว่าเสียงนั้นคืออะไร  จากนั้นอาจารย์ก็นำสื่อออกมาเป็นตัวอย่างให้ดู  โดยให้แต่ละคนออกแบบสื่อของตัวเองให้สวยงาม   ดังนี้







 วิธีทำ
1. พับครึ่งกระดาษ A4
2. วัดกระดาษให้ได้ประมาณ 1 นิ้ว แล้วพับออก
3. พลิ๊กกระดาษ แล้วพับเหมือนเดิม ตามรอยที่เราคยพับไว้
4. พับได้ทั้ง 2 ด้านแล้วจะได้ฐานตั้ง (ฐานจะเหมือนปฏิทินตั้งโต๊ะ)
5. เมื่อพับฐานได้ตามที่ต้องการแล้ว พื้นที่ที่เหลือ วาดรูป (รูปอะไรก็ได้ตามที่เราต้องการ)
6. เมื่อวาดรูปเสร็จแล้ว ลงมือตัดขอบด้วยปากกาเมจิสิดำ เพื่อให้ภาพมีความชัดเจนมากขึ้น
7. ระบายสี ตกแต่งรูปภาพให้สวยงาม และทำการตัด
8. เมื่อตัดกระดาษเสร็จ อีกด้านก็จะได้รูปทรงที่เหมือนกัน แล้วก็วาดรูปเดิมที่เราวาดไว้ แต่วาดแบบกลับด้าน
9. ระบายสี ตกแต่งให้สวยงามทั้ง 2 ด้าน
10. เมื่ระบายสีเสร็จทั้ง 2 ด้าน ก็ทากาวด้านในเพื่อที่จะให้กระดาษทั้ง 2 ฝั่งติดกัน เท่านี้ก็เป็นอันเสร็จเรีบยร้อย ดังภาพ


ความรู้และการนำไปใช้  

ได้ ความรู้ในการทำสื่อเพื่อใช้ในอนาคตพร้อมทั้งความหมาย ประเภทของสื่อ  และสื่อต่างๆ  สามารถนำไปใช้กับเด็กๆ ได้ ช่วยฝึกให้เด็กฝึกทักษะทางภาษาอังกฤษ

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 10

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 16เดือนสิงหาคม  2556
ครั้งที่ 10 กลุ่มเรียน  103 (วันศุกร์เช้า)
เวลาเข้าสอน 8.30  เวลาเข้าเรียน  8.30  เลิกเรียน  12.20


อาจารย์โบว์ (อาจารย์พิเศษ)เข้าสอนแทน  อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน  อาจารย์แจกอุปกรณ์  กระดาษ  สี  ให้ทำเกมการศึกษา  หุ่นนิ้วมืออาเซียน และ จับคู่ธงกับชื่อประเทศ



                             หุ่นนิ้วมืออาเซียน                                                 

จับคู่ธงกับชื่อประเทศ



ความรู้ที่ได้และการนำไปใช้

สามารถ นำไปใช้ในภาควิชาสื่อได้ และ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและภายในอนาคตนำไปใช้เป็นสื่อการสอนสำหรับ เด็กๆ ได้เรียนรู้วัฒนธรรมของอาเซียน